ชมรมนักวิทยุสมัครเล่นแก่นทอง จังหวัดขอนแก่น ความถี่ 144.750 MHz
ยินดีต้อนรับคุณ,
บุคคลทั่วไป
กรุณา
เข้าสู่ระบบ
หรือ
ลงทะเบียน
1 ชั่วโมง
1 วัน
1 สัปดาห์
1 เดือน
ตลอดกาล
เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
หน้าแรก
ช่วยเหลือ
ค้นหา
เข้าสู่ระบบ
สมัครสมาชิก
ชมรมนักวิทยุสมัครเล่นแก่นทอง จังหวัดขอนแก่น ความถี่ 144.750 MHz
»
สถานที่ท่องเที่ยวและคลังแห่งการเรียนรู้ทางพุทธศาสนา
»
วัดและสถานที่สำคัญทางพุทธศาสนา
»
ตำนาน งูซวง ณ วัดถ้ำเหวสินธุ์ชัย บ้านแก่งตะนะ ตำบลโขงเจียม อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี
« หน้าที่แล้ว
ต่อไป »
พิมพ์
หน้า:
1
[
2
]
3
4
...
10
ลงล่าง
ผู้เขียน
หัวข้อ: ตำนาน งูซวง ณ วัดถ้ำเหวสินธุ์ชัย บ้านแก่งตะนะ ตำบลโขงเจียม อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี (อ่าน 20003 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
ตามรอยพุทธ
Administrator
Hero Member
กระทู้: มากเกินบรรยาย
Re: ตำนาน " งูซวง " ณ วัดถ้ำเหวสินธุ์ชัย อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี
«
ตอบกลับ #15 เมื่อ:
08 กรกฎาคม 2012, 21:23:47 »
บันทึกการเข้า
ตามรอยพุทธ
Administrator
Hero Member
กระทู้: มากเกินบรรยาย
Re: ตำนาน " งูซวง " ณ วัดถ้ำเหวสินธุ์ชัย อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี
«
ตอบกลับ #16 เมื่อ:
08 กรกฎาคม 2012, 21:24:31 »
บันทึกการเข้า
ตามรอยพุทธ
Administrator
Hero Member
กระทู้: มากเกินบรรยาย
Re: ตำนาน " งูซวง " ณ วัดถ้ำเหวสินธุ์ชัย อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี
«
ตอบกลับ #17 เมื่อ:
08 กรกฎาคม 2012, 21:25:03 »
บันทึกการเข้า
ตามรอยพุทธ
Administrator
Hero Member
กระทู้: มากเกินบรรยาย
Re: ตำนาน " งูซวง " ณ วัดถ้ำเหวสินธุ์ชัย อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี
«
ตอบกลับ #18 เมื่อ:
08 กรกฎาคม 2012, 21:25:36 »
นี่คือส่วนหาง...งูซวง
«
แก้ไขครั้งสุดท้าย: 08 กรกฎาคม 2012, 21:28:30 โดย ตามรอยพุทธ
»
บันทึกการเข้า
ตามรอยพุทธ
Administrator
Hero Member
กระทู้: มากเกินบรรยาย
Re: ตำนาน " งูซวง " ณ วัดถ้ำเหวสินธุ์ชัย อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี
«
ตอบกลับ #19 เมื่อ:
15 สิงหาคม 2012, 22:19:39 »
ตำนาน " งูซวง " ณ วัดถ้ำเหวสินธุ์ชัย
อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี
บันทึกการเข้า
kaentong
Administrator
Hero Member
กระทู้: 443518
Re: ตำนาน " งูซวง " ณ วัดถ้ำเหวสินธุ์ชัย อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี
«
ตอบกลับ #20 เมื่อ:
02 เมษายน 2013, 19:33:50 »
วัดถ้ำเหวสินธุ์ชัย
และ
น้ำตกถ้ำเหวสินธุ์ชัย
อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี
เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม 2555
ตำนาน เรื่อง สินไซ (สังข์ศิลปชัย)
ชื่อสินไซ
หรือ
สินธุ์ชัย
ท้าวกุศราชครองเมืองปัญจาล
มีมเหสีชื่อนางจันทาเทวี พระขนิษฐาของท้าวกุศราชชื่อนางสุมณฑา ถูกยักษ์ลักพาไปเป็นชายา ภายหลังจึงพาชายาทั้งเจ็ดกลับเมือง อยู่มาไม่นานพระชายาทั้งเจ็ดและพระมเหสีตั้งครรภ์ ประสูติออกมาเป็นโอรสทุกพระองค์ พระมเหสีนางจันทาเทวีประสูติโอรสเป็นราชสีห์ชื่อว่า
" สีโห
" ส่วนพระชายาองค์สุดท้องประสูติโอรสชื่อว่า "
สินไซ (ศิลปชัย)
" และมีสังข์เป็นอาวุธติดมือมาพร้อมกับประสูติ หมอหูฮา (โหรา) ทำนายว่าพระโอรสสินไซมีบุญญาธิการมาก สามารถปราบยักษ์และศัตรูได้ทั่วจักรวาล พี่สาวทั้งหกอิจฉาน้องสาวมา จึงติดสินบนหมอหูฮาให้ทำนายเท็จกราบทูลท้าวกุศราช ท้าวกุศราชจึงจำยอมขับไล่นางและโอรสสินไซออกจากเมือง เพราะหมอหูฮาทูลว่าพระโอรสจะนำความวิบัติมาสู่บ้านเมือง ท้าวสีโหโอรสมเหสีจันทาเทวีขอติดตามสินไซไปด้วย
มารดาสินไซพร้อมด้วยท้าวสีโหและสินไซก็เดินป่าพเนจรไป พระอินทร์ทราบเรื่องจึงมาเนรมิตกระท่อมให้แม่ลูกอาศัยอยู่ หกกุมารเจริญวัยได้เสด็จประพาสป่ามาพบกระท่อมของสินไซและมารดา สินไซได้แสดงอภินิหารให้กุมารทั้งหกชม วันหนึ่งกุมารทั้งหกอยากอวดอิทธิฤทธิ์ให้บิดาชม จึงมาติดสินบนให้สินไซเรียกสัตว์เข้าเมือง พระบิดาเห็นดังนั้นจึงคิดว่าพระกุมารมีอิทธิฤทธิ์สามารถเรียกสัตว์ป่าได้จริง ๆ พระบิดาจึงสั่งให้กุมารทั้งหกไปติดตามหานางสุมณฑาที่ยักษ์ลักพาไป พระกุมารทั้งหกจึงอ้อนวอนให้สินไซช่วยเหลือไปตามพระเจ้าอา พระมารดาไม่อยากให้สินไซไป แต่สินไซได้รับรองกับพระมารดาว่าตนเองมีอิทธิ์ฤทธิ์ มีทั้งสังข์ และท้าวสีโหที่จะช่วยขจัดภัยพิบัติทั้งปวง พระมารดาจึงยินยอมให้ไปกับกุมารทั้งหก
เมื่อกองโยธาไปถึงฝั่งมหาสมุทรสินไซจึงให้กองโยธาและกุมารทั้งหกตั้งทัพคอยอยู่ที่ฝั่งน้ำ ตนและสีโหจะไปยังเมืองยักษ์ติดตามนางสุมณฑาเอง สินไซก็ขี่ท้าวสีโหเหาะไปจนถึงเมืองยักษ์ ได้พบนางสุมณฑาเล่าเรื่องของตนให้ฟัง นางสุมณฑาก็ยินดีแต่นางเองก็ห่วงพระธิดาชื่อนางสุดาจันทร์ ที่ตกเป็นชายาท้าววิรุณนาค เพราะยักษ์ผู้เป็นบิดาเสียพนันสกากับท้าววิรุณนาค เมื่อยักษ์ผู้เป็นสามีนางสุมณฑาเข้าเมืองทราบว่ามีมนุษย์อยู่ในปราสาท จึงตามหาจนพบสินไซ ทั้งสองรบกันด้วยศาสตรศิลป์ต่าง ๆ นานา
ในที่สุดสินไซก็ฆ่ายักษ์ได้ และไปเมืองนาคเล่นสกาพนันเอาเมืองกับท้าววิรุณนาค ท้าววิรุณนาคแพ้ยอมยกเมืองให็ แต่ไม่ยอมให้นางสุดาจันทร์ ทั้งสองจึงรบกันสินไซชิงนางไปได้ จึงพานางสุดาจันทร์และนางสุมณฑากลับมายังฝั่งมหาสมุทรที่กุมารตั้งทัพคอยอยู่ กุมารทั้งหกดีพระทัยมาก แต่ไม่รู้จะไปทูลพระบิดาอย่างไรดี จึงหาอุบายฆ่าสินไซ เมื่อได้โอกาส
จึงผลักสินไซตกเหว
พร้อมกับสีโห หกกุมารจึงยกทัพกลับเมืองพานางสุมณฑาและนางสุดาจันทร์เข้าเมือง ระหว่าทางนางสุมณฑาเป็นห่วงสินไซมาก แต่ก็จนใจจึงนำผ้าสไปแขวนไว้อธิษฐานว่าหากสินไซยังมีชีวิตอยู่ ขอให้นางได้พบผ้าผืนนี้อีก หกกุมารยกทัพกลับถึงเมือง
ท้าวกุศราชบิดาทรงดีพระทัยมาก ที่หกกุมารมีอิทธิฤทธิ์ปราบยักษ์ปราบนาคได้สำเร็จ จึงจัดงานเฉลิมฉลองเป็นการใหญ่ ส่นนางสุมณฑาและนางสุดาจันทร์ไม่กล้าจะทูลความจริง เพราะคิดว่าสินไซคงตายแล้ว วันหนึ่งพ่อค้าสำเภาได้พบผ้าสไบซึ่งเป็นผ้ากษัตริย์ จึงนำมาถวายท้าวกุศราช นางสุมณฑาเห็นผ้าของตนที่อธิฐานไว้ จึงทราบว่าพระสินไซยังมีชีวิตอยู่ จึงเล่าเรื่องทั้งหมดให้ท้าวกุศราชฟัง ท้าวกุศราชจึงจัดงานฉลองพระนครเจ็ดวันเจ็ดคืน เพื่ออุบายให้ท้าวสินไซมาเที่ยวงานเฉลิมฉลอง และให้นางสุมณฑาคอยติดตามดูคนมาเที่ยวงานเพื่อตามหาสินไซ ฝ่ายสินไซเมื่อถูกผลักตกเหวร้อนถึงพระอินทร์ ๆ มาช่วยชุบชีวิตแล้วให้กลับไปอยู่กับมารดาตามเดิม
เมื่อมีงานฉลองพระนครก็ไปเดินเที่ยว นางสุมณฑาพบเข้าจึงให้เข้าเฝ้าท้าวกุศราช ๆ สอบถามความจริงจึงสั่งให้ประหารหมอหูฮา และขับไล่พระกุมารทั้งหกและพระชายาทั้งหกไปอยู่เมืองจำปา ท้าวกุศราชก็แต่งราชรถไปรับพระชายาและสินไซเข้าเมือง ส่วนนางสุดาจันทร์ท้าวิรุณนาคมาขอไปเป็นชายาเหมือนเดิม ท้าวสินไซก็ได้ครองราชย์ปกครองราษฎรอยู่ในทศพิธิราชธรรมสืบมา
วัดถ้ำเหวสินธุ์ชัย และ น้ำตกถ้ำเหวสินธุ์ชัย อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งเป็นตำนานของท้าวสินไซ เป็นสถานที่ท้าวสินไซถูกผลักตกเหว จึงตั้งชื่อว่า
วัดถ้ำเหวสินธุ์ชัย
มาจนถึงปัจจุบัน
บันทึกการเข้า
ตามรอยพุทธ
Administrator
Hero Member
กระทู้: มากเกินบรรยาย
Re: ตำนาน " งูซวง " ณ วัดถ้ำเหวสินธุ์ชัย อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี
«
ตอบกลับ #21 เมื่อ:
17 กรกฎาคม 2014, 07:36:08 »
นี่คือส่วนหาง...งูซวง
บันทึกการเข้า
ตามรอยพุทธ
Administrator
Hero Member
กระทู้: มากเกินบรรยาย
Re: ตำนาน " งูซวง " ณ วัดถ้ำเหวสินธุ์ชัย อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี
«
ตอบกลับ #22 เมื่อ:
17 กรกฎาคม 2014, 07:52:17 »
พูดถึงนิทานพื้นบ้านอีสาน เชื่อว่าหลายๆคนคงจะรู้จักตำนานนิทานพื้นบ้านอีสาน เรื่อง"
สินไซ (สังข์ศิลป์ชัย) ท้าวสินไซ หรือ สินธุ์ชัย
" ( ชื่ออาจจะเขียนที่แตกต่างกันออกไป ) ซึ่งมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับตำนาน " งูซวง " ( ถ้าสนใจนิทานเรื่องนี้ ก็ติดตามอ่านตามลิ้งต์ข้างล่างนี้ำด้นะครับ..แบบย่อๆ ที่พอจะรวบรวมได้ ) และที่นี่....วัดถ้ำเหวสินธุ์ชัย และ น้ำตกถ้ำเหวสินธุ์ชัย อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี.....ก็เป็นวัดที่มาของนิทานเรื่อง "
ท้าวสินธุ์ชัย กับตำนานงูซวง
" เป็นทั้งวัด มีทั้งน้ำตกให้เห็นสวยงาม และใครอยากจะเห็นงูซวง ก็มาดูได้ที่วัดนี้ ( ที่ท้าวสินธุ์ชัยฟันขาด 7 ท่อน )
บันทึกการเข้า
ตามรอยพุทธ
Administrator
Hero Member
กระทู้: มากเกินบรรยาย
Re: ตำนาน " งูซวง " ณ วัดถ้ำเหวสินธุ์ชัย อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี
«
ตอบกลับ #23 เมื่อ:
22 กรกฎาคม 2014, 16:57:31 »
วัดถ้ำเหวสินธุ์ชัย
และ
น้ำตกถ้ำเหวสินธุ์ชัย
อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี
เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม 2555
ตำนาน เรื่อง สินไซ (สังข์ศิลปชัย)
ชื่อสินไซ
หรือ
สินธุ์ชัย
ท้าวกุศราชครองเมืองปัญจาล
มีมเหสีชื่อนางจันทาเทวี พระขนิษฐาของท้าวกุศราชชื่อนางสุมณฑา ถูกยักษ์ลักพาไปเป็นชายา ภายหลังจึงพาชายาทั้งเจ็ดกลับเมือง อยู่มาไม่นานพระชายาทั้งเจ็ดและพระมเหสีตั้งครรภ์ ประสูติออกมาเป็นโอรสทุกพระองค์ พระมเหสีนางจันทาเทวีประสูติโอรสเป็นราชสีห์ชื่อว่า
" สีโห
" ส่วนพระชายาองค์สุดท้องประสูติโอรสชื่อว่า "
สินไซ (ศิลปชัย)
" และมีสังข์เป็นอาวุธติดมือมาพร้อมกับประสูติ หมอหูฮา (โหรา) ทำนายว่าพระโอรสสินไซมีบุญญาธิการมาก สามารถปราบยักษ์และศัตรูได้ทั่วจักรวาล พี่สาวทั้งหกอิจฉาน้องสาวมา จึงติดสินบนหมอหูฮาให้ทำนายเท็จกราบทูลท้าวกุศราช ท้าวกุศราชจึงจำยอมขับไล่นางและโอรสสินไซออกจากเมือง เพราะหมอหูฮาทูลว่าพระโอรสจะนำความวิบัติมาสู่บ้านเมือง ท้าวสีโหโอรสมเหสีจันทาเทวีขอติดตามสินไซไปด้วย
มารดาสินไซพร้อมด้วยท้าวสีโหและสินไซก็เดินป่าพเนจรไป พระอินทร์ทราบเรื่องจึงมาเนรมิตกระท่อมให้แม่ลูกอาศัยอยู่ หกกุมารเจริญวัยได้เสด็จประพาสป่ามาพบกระท่อมของสินไซและมารดา สินไซได้แสดงอภินิหารให้กุมารทั้งหกชม วันหนึ่งกุมารทั้งหกอยากอวดอิทธิฤทธิ์ให้บิดาชม จึงมาติดสินบนให้สินไซเรียกสัตว์เข้าเมือง พระบิดาเห็นดังนั้นจึงคิดว่าพระกุมารมีอิทธิฤทธิ์สามารถเรียกสัตว์ป่าได้จริง ๆ พระบิดาจึงสั่งให้กุมารทั้งหกไปติดตามหานางสุมณฑาที่ยักษ์ลักพาไป พระกุมารทั้งหกจึงอ้อนวอนให้สินไซช่วยเหลือไปตามพระเจ้าอา พระมารดาไม่อยากให้สินไซไป แต่สินไซได้รับรองกับพระมารดาว่าตนเองมีอิทธิ์ฤทธิ์ มีทั้งสังข์ และท้าวสีโหที่จะช่วยขจัดภัยพิบัติทั้งปวง พระมารดาจึงยินยอมให้ไปกับกุมารทั้งหก
เมื่อกองโยธาไปถึงฝั่งมหาสมุทรสินไซจึงให้กองโยธาและกุมารทั้งหกตั้งทัพคอยอยู่ที่ฝั่งน้ำ ตนและสีโหจะไปยังเมืองยักษ์ติดตามนางสุมณฑาเอง สินไซก็ขี่ท้าวสีโหเหาะไปจนถึงเมืองยักษ์ ได้พบนางสุมณฑาเล่าเรื่องของตนให้ฟัง นางสุมณฑาก็ยินดีแต่นางเองก็ห่วงพระธิดาชื่อนางสุดาจันทร์ ที่ตกเป็นชายาท้าววิรุณนาค เพราะยักษ์ผู้เป็นบิดาเสียพนันสกากับท้าววิรุณนาค เมื่อยักษ์ผู้เป็นสามีนางสุมณฑาเข้าเมืองทราบว่ามีมนุษย์อยู่ในปราสาท จึงตามหาจนพบสินไซ ทั้งสองรบกันด้วยศาสตรศิลป์ต่าง ๆ นานา
ในที่สุดสินไซก็ฆ่ายักษ์ได้ และไปเมืองนาคเล่นสกาพนันเอาเมืองกับท้าววิรุณนาค ท้าววิรุณนาคแพ้ยอมยกเมืองให็ แต่ไม่ยอมให้นางสุดาจันทร์ ทั้งสองจึงรบกันสินไซชิงนางไปได้ จึงพานางสุดาจันทร์และนางสุมณฑากลับมายังฝั่งมหาสมุทรที่กุมารตั้งทัพคอยอยู่ กุมารทั้งหกดีพระทัยมาก แต่ไม่รู้จะไปทูลพระบิดาอย่างไรดี จึงหาอุบายฆ่าสินไซ เมื่อได้โอกาส
จึงผลักสินไซตกเหว
พร้อมกับสีโห หกกุมารจึงยกทัพกลับเมืองพานางสุมณฑาและนางสุดาจันทร์เข้าเมือง ระหว่าทางนางสุมณฑาเป็นห่วงสินไซมาก แต่ก็จนใจจึงนำผ้าสไปแขวนไว้อธิษฐานว่าหากสินไซยังมีชีวิตอยู่ ขอให้นางได้พบผ้าผืนนี้อีก หกกุมารยกทัพกลับถึงเมือง
ท้าวกุศราชบิดาทรงดีพระทัยมาก ที่หกกุมารมีอิทธิฤทธิ์ปราบยักษ์ปราบนาคได้สำเร็จ จึงจัดงานเฉลิมฉลองเป็นการใหญ่ ส่นนางสุมณฑาและนางสุดาจันทร์ไม่กล้าจะทูลความจริง เพราะคิดว่าสินไซคงตายแล้ว วันหนึ่งพ่อค้าสำเภาได้พบผ้าสไบซึ่งเป็นผ้ากษัตริย์ จึงนำมาถวายท้าวกุศราช นางสุมณฑาเห็นผ้าของตนที่อธิฐานไว้ จึงทราบว่าพระสินไซยังมีชีวิตอยู่ จึงเล่าเรื่องทั้งหมดให้ท้าวกุศราชฟัง ท้าวกุศราชจึงจัดงานฉลองพระนครเจ็ดวันเจ็ดคืน เพื่ออุบายให้ท้าวสินไซมาเที่ยวงานเฉลิมฉลอง และให้นางสุมณฑาคอยติดตามดูคนมาเที่ยวงานเพื่อตามหาสินไซ ฝ่ายสินไซเมื่อถูกผลักตกเหวร้อนถึงพระอินทร์ ๆ มาช่วยชุบชีวิตแล้วให้กลับไปอยู่กับมารดาตามเดิม
เมื่อมีงานฉลองพระนครก็ไปเดินเที่ยว นางสุมณฑาพบเข้าจึงให้เข้าเฝ้าท้าวกุศราช ๆ สอบถามความจริงจึงสั่งให้ประหารหมอหูฮา และขับไล่พระกุมารทั้งหกและพระชายาทั้งหกไปอยู่เมืองจำปา ท้าวกุศราชก็แต่งราชรถไปรับพระชายาและสินไซเข้าเมือง ส่วนนางสุดาจันทร์ท้าวิรุณนาคมาขอไปเป็นชายาเหมือนเดิม ท้าวสินไซก็ได้ครองราชย์ปกครองราษฎรอยู่ในทศพิธิราชธรรมสืบมา
วัดถ้ำเหวสินธุ์ชัย และ น้ำตกถ้ำเหวสินธุ์ชัย อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งเป็นตำนานของท้าวสินไซ เป็นสถานที่ท้าวสินไซถูกผลักตกเหว จึงตั้งชื่อว่า
วัดถ้ำเหวสินธุ์ชัย
มาจนถึงปัจจุบัน
บันทึกการเข้า
ตามรอยพุทธ
Administrator
Hero Member
กระทู้: มากเกินบรรยาย
Re: ตำนาน " งูซวง " ณ วัดถ้ำเหวสินธุ์ชัย อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี
«
ตอบกลับ #24 เมื่อ:
30 กรกฎาคม 2016, 14:32:14 »
บันทึกการเข้า
ตามรอยพุทธ
Administrator
Hero Member
กระทู้: มากเกินบรรยาย
Re: ตำนาน " งูซวง " ณ วัดถ้ำเหวสินธุ์ชัย อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี
«
ตอบกลับ #25 เมื่อ:
30 กรกฎาคม 2016, 14:32:27 »
บันทึกการเข้า
ตามรอยพุทธ
Administrator
Hero Member
กระทู้: มากเกินบรรยาย
Re: ตำนาน " งูซวง " ณ วัดถ้ำเหวสินธุ์ชัย อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี
«
ตอบกลับ #26 เมื่อ:
30 กรกฎาคม 2016, 14:32:49 »
ตำนาน " งูซวง " ณ วัดถ้ำเหวสินธุ์ชัย อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี
บันทึกการเข้า
ตามรอยพุทธ
Administrator
Hero Member
กระทู้: มากเกินบรรยาย
Re: ตำนาน " งูซวง " ณ วัดถ้ำเหวสินธุ์ชัย อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี
«
ตอบกลับ #27 เมื่อ:
30 กรกฎาคม 2016, 20:59:07 »
สินไซกลอนที่ 1 พระยากุศราชครองเมือง
สินไซ
กลอนที่ 1 พระยากุศราชครองเมือง
«
แก้ไขครั้งสุดท้าย: 01 กันยายน 2019, 19:35:00 โดย ตามรอยพุทธ
»
บันทึกการเข้า
ตามรอยพุทธ
Administrator
Hero Member
กระทู้: มากเกินบรรยาย
Re: ตำนาน " งูซวง " ณ วัดถ้ำเหวสินธุ์ชัย อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี
«
ตอบกลับ #28 เมื่อ:
30 กรกฎาคม 2016, 21:00:57 »
สินไซกลอนที่ 2 ยักษ์กุมภัณฑ์อยากมี
สินไซ
กลอนที่ 2 ยักษ์กุมภัณฑ์อยากมี
«
แก้ไขครั้งสุดท้าย: 01 กันยายน 2019, 19:36:13 โดย ตามรอยพุทธ
»
บันทึกการเข้า
ตามรอยพุทธ
Administrator
Hero Member
กระทู้: มากเกินบรรยาย
Re: ตำนาน " งูซวง " ณ วัดถ้ำเหวสินธุ์ชัย อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี
«
ตอบกลับ #29 เมื่อ:
30 กรกฎาคม 2016, 21:07:00 »
สินไซกลอนที่ 3 ตอนนางสุมนฑาชมสวน
สินไซ
กลอนที่ 3 ตอนนางสุมนฑาชมสวน
«
แก้ไขครั้งสุดท้าย: 01 กันยายน 2019, 19:37:07 โดย ตามรอยพุทธ
»
บันทึกการเข้า
พิมพ์
หน้า:
1
[
2
]
3
4
...
10
ขึ้นบน
« หน้าที่แล้ว
ต่อไป »
ชมรมนักวิทยุสมัครเล่นแก่นทอง จังหวัดขอนแก่น ความถี่ 144.750 MHz
»
สถานที่ท่องเที่ยวและคลังแห่งการเรียนรู้ทางพุทธศาสนา
»
วัดและสถานที่สำคัญทางพุทธศาสนา
»
ตำนาน งูซวง ณ วัดถ้ำเหวสินธุ์ชัย บ้านแก่งตะนะ ตำบลโขงเจียม อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี
Tweet